ลงประกาศฟรี โพสฟรี โปรโมทเว็บไซด์ให้ติดอันดับ SEO ด้วย PBN

ตลาดซื้อขายสินค้าออนไลน์ โฆษณาสินค้าฟรี => อื่นๆ ที่ไม่ตรงหมวดข้างบน => Topic started by: moozamoz on May 18, 2025, 08:15:09 PM

Title: น้ำตาลหญ้าหวาน Stevia Sugar สตีเวีย Rebaudioside A
Post by: moozamoz on May 18, 2025, 08:15:09 PM
หญ้าหวาน (https://www.thaipolychemicals.com/), สตีเวีย (https://www.thaipolychemicals.com/), Stevia Extract (https://www.thaipolychemicals.com/), Rebaudioside A (https://www.thaipolychemicals.com/), Stevia Sugar (https://www.thaipolychemicals.com/), น้ำตาลหญ้าหวาน (https://www.thaipolychemicals.com/), สตีเวียเอ็กแทรกซ์ (https://www.thaipolychemicals.com/)

(https://blogger.googleusercontent.com/img/b/R29vZ2xl/AVvXsEhSG4IRjAo_XYhdgHtdnrXnO7PreM9P6vZsgMyL3T9FTYbHaYyE66PNdCO3ro8SLzU9RsktAw8An2shnzD2gP3gN-5oXXE8JpPR4dONRlzhZWfqCuYsJiBAoMu49OoWMOUbop7Q7FRJ3MaUVqgeSir-lMtCeVrA0YY2iuuZZ8GpSBDdaSoLuIBxOfqUwMw/s600/STEVIA-TPCC-2025-A227.jpg) (https://www.thaipolychemicals.com/)

สารสกัดจากหญ้าหวาน (https://www.thaipolychemicals.com/) เป็นสารให้ความหวานจากธรรมชาติ Natural Sweetener
สารสกัดจากหญ้าหวาน เป็นสารให้ความหวานแทนน้ำตาล Sugar Substitute
สารสกัดจากหญ้าหวาน รีเบาดิโอไซด์เอ สตีวิโอไซด์ Rebaudioside A (https://www.thaipolychemicals.com/) Stevioside
สารสกัดจากหญ้าหวาน มีความหวานมากกว่าน้ำตาล 200-400 เท่า
สารสกัดจากหญ้าหวาน ไม่มีแคลอรี ไม่ให้พลังงาน จึงเป็นทางเลือกใหม่ที่น่าสนใจเพื่อสุขภาพ
หญ้าหวาน (https://www.thaipolychemicals.com/), สารสกัดหญ้าหวาน, สารสกัดจากหญ้าหวาน, น้ำตาลหญ้าหวาน (https://www.thaipolychemicals.com/), สตีเวีย (https://www.thaipolychemicals.com/)
ผลิตหญ้าหวาน, นำเข้าหญ้าหวาน, จำหน่ายหญ้าหวาน (https://www.thaipolychemicals.com/), ส่งออกหญ้าหวาน, STEVIA


สามารถสอบถามข้อมูลสินค้า ขอตัวอย่างสินค้าทดลอง และสั่งซื้อสินค้าได้ที่
บริษัท ไทยโพลีเคมิคอล จำกัด (วัตถุเจือปนอาหาร)
Thai Poly Chemicals Company (Food Additive)


Tel No : 034854888

Mobile : 0893128888

Line ID : thaipoly8888

(https://biz.line.naver.jp/line_business/img/btn/addfriends_en.png) (http://line.me/ti/p/~thaipoly8888)

Email: thaipoly8888@gmail.com

Website : www.thaipolychemicals.com (https://www.thaipolychemicals.com/)


ข้อมูลผลิตภัณฑ์ สารสกัดจากหญ้าหวาน น้ำตาลสตีเวีย (https://www.thaipolychemicals.com/) (Stevia Extract (https://www.thaipolychemicals.com/))
ถึงแม้ว่าจะมีสารทดแทนความหวานที่ไม่ให้พลังงาน เช่น แอสปาร์แตม ซูคราโลส และอื่นๆ จะเป็นทางเลือกที่ถูกนำมาใช้ทดแทนน้ำตาล แต่การที่สารเหล่านี้ผลิตจากการสังเคราะห์ทางเคมี ซึ่งแตกต่างจากหญ้าหวานที่เป็นพืชตามธรรมชาติ สารสกัดจากใบหญ้าหวาน มีชื่อเรียกว่า สตีวิโอไซด์ (Stevioside) จึงมีความน่าสนใจมากขึ้น โดยลักษณะของสตีวิโอไซด์ เป็นสารที่ให้ความหวานมากกว่าน้ำตาล 200-400 เท่า ซึ่งรสหวานของสารสตีวิโอไซด์ จะจางหายไปช้ากว่าน้ำตาลทราย แต่จะมีรสหวานติดลิ้นนานกว่า โดยสารที่ว่านี้ จะไม่ถูกย่อยให้เกิดพลังงานในร่างกาย มีแคลอรี่ต่ำมาก จึงมีความปลอดภัยสูง และมีการยอมรับให้ใช้เป็นสารให้ความหวานได้ ตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข ฉบับที่ 262 พุทธศักราช 2545 โดยปัจจุบันนี้พบว่า สารให้ความหวานที่สกัดจากหญ้าหวาน กำลังเป็นที่นิยมกันอย่างแพร่หลายในหลายประเทศทั่วโลก

หญ้าหวาน สารให้ความหวานจากธรรมชาติ
เป็นที่ทราบกันดีว่า หากบริโภคน้ำตาลในปริมาณที่มากเกินจำเป็น สามารถสะสมทำให้น้ำหนักตัวเพิ่มขึ้น และนำไปสู่โรคไม่ติดต่อเรื้อรังได้มากมาย หลายคนจึงเริ่มหันมาสนใจ วัตถุดิบกลุ่มหนึ่งที่ให้ความหวานแทนน้ำตาลได้ และไม่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ นั่นคือ สารให้ความหวานแทนน้ำตาล (Artificial sweeteners) ซึ่งสารให้ความหวานแทนน้ำตาลนี้ ก็มีอยู่หลายชนิด แต่ที่กำลังได้รับความนิยมเป็นอย่างมาก ก็คือ หญ้าหวาน ที่เป็นสารให้ความหวานแทนน้ำตาล จากธรรมชาติ และถูกนำมาเป็นส่วนประกอบของอาหารคาว ขนมหวาน และเครื่องดื่มอยู่มากมายในปัจจุบัน

หญ้าหวาน (https://www.thaipolychemicals.com/) คืออะไร
หญ้าหวาน เป็นพืชชนิดหนึ่ง มีถิ่นกำเนิดอยู่ทางอเมริกาใต้ สามารถให้ความหวานได้โดยธรรมชาติ มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Stevia Rebaudiana Bertoni หรือเรียกสั้นๆว่า Stevia เมื่อนำใบหญ้าหวานแห้งมาสกัด จะได้สารสกัดบริสุทธิ์ ชื่อว่า สตีวิออลไกลโคไซด์ (Steviol glycosides) ซึ่งมีความคงตัวสูงในตัวทำละลาย กรดอ่อน เบสอ่อน ทนความร้อนได้ถึง 200 องศาเซลเซียส และหวานกว่าน้ำตาลทราย 200-400 เท่า โดยที่ไม่มีคาร์โบไฮเดรตและไม่ให้พลังงาน ทั้งนี้สารสกัดจากใบหญ้าหวานที่ได้รับการยอมรับ จากคณะกรรมการผู้เชี่ยวชาญว่าด้วยวัตถุเจือปนอาหารขององค์การอาหารและเกษตร และองค์การอนามัยโลก แห่งสหประชาชาติ (The Joint Food and Agriculture Organization / World Health Organization (WHO) Expert Committee on Food Additives, JECFA) ที่สามารถนำมาใช้ในอาหารและเครื่องดื่มได้ จะต้องมีปริมาณสารในกลุ่มสตีวิออลไกลโคไซด์ มากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 95 ของน้ำหนักแห้ง ดังนั้นจึงไม่แนะนำให้นำใบสด ใบอบแห้ง หรือผงสารสกัดจากใบหญ้าหวาน ที่ไม่ได้บอกปริมาณความเข้มข้น มาใช้ทำอาหารและเครื่องดื่ม

Title: Re: น้ำตาลหญ้าหวาน Stevia Sugar สตีเวีย Rebaudioside A
Post by: moozamoz on May 19, 2025, 01:20:29 PM
(https://blogger.googleusercontent.com/img/b/R29vZ2xl/AVvXsEjrP1i-JKwqZUDWgqriRJ1b-cCh2LWZ7xZzs0Fe1QP4JkNXxaVrag-4Wrvu6msFb9uEkPXoFVbkqJHWIlp0ZNj7ZdGXm8LdM0aoelDiljD9J7chgfUG9KNIm3dWx3mZF5Oy9qF1UneNi9KO61MQvOMRJqL5hVbTJH9nUcWuGa0tE0jcjfWCAxYoi5h78hM/s600/TPCC-STEVIA-288.jpg) (https://www.thaipolychemicals.com/)

หญ้าหวาน ใช้แล้วปลอดภัยไหม
อ้างอิงจากคณะกรรมการผู้เชี่ยวชาญว่าด้วยวัตถุเจือปนอาหารขององค์การ อาหารและเกษตร และองค์การอนามัยโลก แห่งสหประชาชาติ (JECFA) ได้ประเมินและกำหนดค่าความปลอดภัย (The Acceptable Daily Intake, ADI) ของสารสกัดจากหญ้าหวาน (Steviol glycosides) ไว้ที่ 4 มิลลิกรัม/น้ำหนักตัว 1 กิโลกรัม/วัน ในรูปของ Steviol Equivalents หมายความว่า หากเราน้ำหนัก 50 กิโลกรัม เราจะสามารถรับสารสกัดจากหญ้าหวานได้ไม่เกิน 200 มิลลิกรัม/วัน แต่ในผลิตภัณฑ์สารให้ความหวานแทนน้ำตาลตามท้องตลาด มีส่วนผสมของสารสกัดจากหญ้าหวาน(Steviol glycosides) เพียงเล็กน้อยเท่านั้นหรือประมาณ 0.5 เปอร์เซ็นต์ ของปริมาตรทั้งหมด เนื่องจากสารสกัดนั้นให้ความหวานที่มากกว่า น้ำตาลหลายร้อยเท่า เช่น ในน้ำเก็กฮวยยี่ห้อหนึ่ง มีหญ้าหวานประมาณ 0.03 % ใน 500 ml คิดเป็น 15 mg ต่อกล่อง นั่นหมายความว่า อาจจะต้องกินดื่มน้ำเก็กฮวย มากถึง 13 กล่องต่อวัน จึงจะได้รับหญ้าหวาน เกินปริมาณที่กำหนด ดังนั้นเมื่อนำมาใช้กับอาหารและเครื่องดื่มแทนน้ำตาลเพียงเล็กน้อย ก็ให้ความหวานเทียบเท่ากับน้ำตาลแล้ว ทำให้เราหมดความกังวลเรื่องที่จะได้รับสารสกัดเกินปริมาณที่กำหนด รวมถึงในปี ค.ศ. 2009 คณะกรรมการอาหารและยาแห่งสหรัฐอเมริกา (USFDA) ได้ออกประกาศว่า หญ้าหวานได้รับการยอมรับโดยทั่วไปว่าปลอดภัย (Generally Recognized As Safe, GRAS) และสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) ได้ประกาศให้สารสกัดสติวิออลไกลโคไซด์ เป็นวัตถุเจือปนอาหาร อีกด้วย ส่วนการศึกษาเกี่ยวกับการสะสมของสารสกัดจากหญ้าหวานจนเพิ่มความเสี่ยงการเกิดมะเร็งนั้น ก็ยังไม่พบว่า การใช้หญ้าหวานแทนน้ำตาลจะทำให้เกิดมะเร็งได้ แต่อย่างไรก็ตาม การบริโภคสารสกัดจากหญ้าหวาน ก็ยังต้องระวังในคนที่แพ้พืชตระกูลเดียวกับหญ้าหวาน เช่น ดอกเบญจมาศ ดอกดาวเรือง เนื่องจากมีความเสี่ยงอาจแพ้หญ้าหวาน ด้วยเช่นเดียวกัน รวมถึงยังไม่มีงานวิจัยที่ยืนยันว่า สตรีมีครรภ์ และสตรีให้นมบุตร สามารถกินสารสกัดจากหญ้าหวานได้ ดังนั้นควรหลีกเลี่ยงการบริโภคสารให้ความหวานแทนน้ำตาลไปก่อน และไปเลือกควบคุมปริมาณอาหารและเครื่องดื่มที่มีน้ำตาลสูงแทน

ประโยชน์ของ สารสกัดหญ้าหวาน
แน่นอนว่าประโยชน์ของหญ้าหวานที่ทุกคนรู้กันก็คือ การใช้เป็นวัตถุดิบให้ความหวานแทนน้ำตาล ในอาหารและเครื่องดื่ม โดยที่ไม่ให้พลังงาน และไม่ทำให้ระดับน้ำตาลในเลือดเพิ่มขึ้น ที่สารสกัดจากหญ้าหวานให้ผลเช่นนี้ เนื่องจากกระบวนการย่อยและดูดซึมของสารสกัดหญ้าหวาน ไม่ผ่านระบบย่อยอาหารส่วนต้น แต่จะเริ่มย่อยที่ลำไส้ใหญ่โดยแบคทีเรียในลำไส้ หลังจากนั้นถูกลำเลียงไปเผาผลาญที่ตับ จนสุดท้ายถูกขับออกจากร่างกายผ่านปัสสาวะเป็นหลัก ไม่ถูกดูดซึมเข้ากระแสเลือด ดังนั้นสารสกัดจากหญ้าหวาน จึงถูกนำมาใช้แทนน้ำตาล เพื่อเป็นตัวช่วยสำหรับผู้ป่วยเบาหวาน ที่ต้องการควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด หรือบุคคลทั่วไปที่ต้องการควบคุมน้ำหนัก โดยการลดพลังงานที่ได้รับจากน้ำตาลของอาหาร และเครื่องดื่ม นอกจากนี้ยังมีการพูดถึงประโยชน์ของสารสกัดจากหญ้าหวานในด้านอื่น ๆ เช่น มีสารต้านอนุมูลอิสระ ที่ช่วยลดความเสื่อมของเซลล์ร่างกาย นำไปสู่การลดความเสี่ยงการเกิดมะเร็งได้ แต่ทั้งนี้ก็อาจมีปัจจัยเกี่ยวกับการที่ใช้หญ้าหวานแทนน้ำตาล ทำให้พลังงานต่อวันลดลงจนมีน้ำหนักตัวลดลงตามมา ซึ่งอย่างที่ทราบกันว่า ความอ้วน ก็เป็นหนึ่งในปัจจัยเสี่ยงของการเกิดมะเร็งได้ ดังนั้นในการใช้สารสกัดจากหญ้าหวานช่วยลดความเสี่ยงการเกิดมะเร็งได้ จึงต้องมีการศึกษาต่อไปอย่างต่อเนื่อง กล่าวโดยสรุปคือ หญ้าหวาน เป็นสารให้ความหวานแทนน้ำตาลจากธรรมชาติ ที่สามารถนำมาใช้ในอาหารและเครื่องดื่มได้อย่างปลอดภัย เป็นอีกหนึ่งทางเลือกสำหรับผู้ป่วยเบาหวาน หรือบุคคลทั่วไปที่ต้องการดูแลสุขภาพ แต่ทั้งนี้การดูแลสุขภาพที่ดีอย่างแท้จริง คือ การปรับพฤติกรรมของตัวเราเอง โดยลดอาหารหวาน มัน เค็ม หลีกเลี่ยงอาหารและเครื่องดื่มที่มีพลังงานสูง มีการออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ เพื่อให้เกิดความสมดุลของพลังงานต่อวัน ไม่ให้สะสมจนเกิดโรคได้ และอาจมีการใช้สารให้ความหวานแทนน้ำตาลเป็นตัวช่วยเล็กน้อย จะดีกว่าการเลือกใช้สารให้ความหวานแทนน้ำตาลเป็นหลัก แต่ไม่ได้มีการปรับพฤติกรรมอะไรเลย เพราะนั่นอาจจะเป็นการดูแลสุขภาพที่ไม่ยั่งยืนก็เป็นได้